ผลกระทบโควิด 19 ด้านเศรษฐกิจ

ศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลด้านการลงทุนและที่ปรึกษาการลงทุน (CIO Office) ธนาคารไทยพาณิชย์ เผยแพร่บทความระบุว่า การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ในครั้งนี้ ที่ทำให้ทางธนาคารแห่งประเทศไทยได้ประกาศว่า GDP ในปีนี้อาจติดลบถึง 5. 3% เป็นเหมือนการยืนยันแล้ว ว่าเราคงหนีไม่พ้นเศรษฐกิจถดถอยในปีนี้อย่างแน่นอน แต่เราสามารถเรียนรู้ได้ทั้งจากเหตุการณ์ที่ดีและไม่ดี จากเหตุการณ์ 3 เรื่อง 1.

สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และ COVID-19

ดร. เสาวณี จันทะพงษ์ ฝ่ายเศรษฐกิจมหภาค นายทศพล ต้องหุ้ย ฝ่ายนโยบายการเงิน เวลานี้ คงไม่มีประเด็นใดที่คนสนใจได้มากเท่ากับการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ องค์การอนามัยโลก (WHO) ยกระดับให้เป็น "ภาวะการระบาดใหญ่ทั่วโลก (Pandemic)" แล้ว แม้มีข่าวดีจากจีนที่สถานการณ์เริ่มทรงตัว แต่การแพร่ระบาดในประเทศอื่นนอกจีนกลับขยายไปมากกว่า 60 ประเทศ โดยข้อมูล ณ 15 มี. ค. 63 มีผู้ติดเชื้อสะสม 1.

COVID-19 New Normal เศรษฐกิจ

63) มองเหตุการณ์เป็น 2 สถานการณ์ สถานการณ์แรก การแพร่ระบาดอยู่ในวงจำกัด โดยสถานการณ์ในจีนจะรุนแรงสูงสุดในไตรมาส 2 และทยอยคลี่คลายลง ขณะที่สถานการณ์นอกจีนมีการแพร่ระบาดมากขึ้นแต่ยังอยู่ในวงจำกัด ซึ่งจะทำให้เศรษฐกิจโลกปี 2563 ขยายตัวต่ำลง 0. 5% แต่จะกลับมาดีขึ้นในไตรมาส 3 สถานการณ์ที่สอง การแพร่ระบาดขยายวงกว้าง ประเทศอื่นนอกจีนควบคุมสถานการณ์ไม่ได้ กรณีนี้ความเสียหายน่าจะสูงและกินเวลานานเป็นปี ขณะที่ความเห็นของ IMF (4 มี.

ผลกระทบของ Covid-19 ต่อเศรษฐกิจไทย และคนทำธุรกิจ SME

รายงาน: ผลกระทบที่สำคัญของโควิด-19 ต่อเศรษฐกิจไทย ความเปราะบางของครัวเรือน และผู้ประกอบการ

  1. COVID-19 New Normal เศรษฐกิจ
  2. Coil center ในประเทศไทย
  3. ประเทศไทยหลังโควิด-19 ตอนที่ 1 : ผลกระทบเศรษฐกิจและตลาดแรงงานไทย
  4. 2022 YOUNGJAE FANMEETING IN BANGKOK 'Nice To Meet Ars' : สนุก! วิดีโอ

ผลกระทบโควิด เศรษฐกิจถดถอย เราเรียนรู้อะไรบ้าง จากวิกฤติไวรัสร้าย

3 ในปี 2563 ซึ่งเป็นการชะลอตัวลงรายไตรมาสที่แรงที่สุดในรอบ 5 ปี เนื่องจากความต้องการสินค้าไทยในต่างประเทศยังคงอ่อนแอ อันเป็นผลมาจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ทั้งนี้ คาดว่าการบริโภคภาคเอกชนจะลดลงร้อยละ 3. 2 เนื่องจากมาตรการห้ามการเดินทางและรายได้ที่ลดลงซึ่งจำกัดการใช้จ่ายของผู้บริโภคโดยเฉพาะในไตรมาสที่สองของปี 2563 จากการที่ประเทศไทยเริ่มผ่อนปรนการห้ามเดินทาง จะทำให้การบริโภคภายในประเทศที่เดิมมีความเข้มแข็งอยู่แล้วและเป็นเครื่องจักรผลักดันเศรษฐกิจเริ่มจะฟื้นตัวได้ในไตรมาสที่สองของปี 2563 และในปี 2564 แต่การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจจะค่อย ๆ ปรับตัวและยังมีความไม่แน่นอนอยู่ ทั้งนี้ โดยพื้นฐานแล้ว เศรษฐกิจไทยน่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 4. 1 ในปี 2564 และ 3.

ผลกระทบของโรคระบาดโควิด-19 ต่อเศรษฐกิจไทย

ผลกระทบโควิด 19 ด้านเศรษฐกิจทั่วโลก

3% ขณะที่บริษัทขนาดกลางและบริษัทขนาดใหญ่ที่อาจจะมีปัญหาสภาพคล่องมีจำนวนเพิ่มขึ้น 13. 0% และ 7. 2% ตามลำดับ ทั้งนี้ บริษัทขนาดใหญ่ที่อยู่ในธุรกิจร้านอาหาร ดีลเลอร์รถยนต์ และโรงแรม มีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับผล กระทบจากการระบาดของไวรัสโควิค-19 และมีความเสี่ยงที่จะผิดนัดชำระหนี้มากกว่าบริษัทใหญ่ในธุรกิจอื่นๆ ส่วนบริษัทขนาดกลางที่มีความเปราะบางคือ ร้านอาหาร บริการทางการเงินอื่นๆ และตัวแทนจำหน่ายรถยนต์ สำหรับจังหวัดที่อาจมีปัญหาสภาพคล่องเพิ่มขึ้น ได้แก่ จังหวัดสมุทรสาคร จันทบุรี และชลบุรี เพราะเป็นแหล่งอุตสาหกรรมและท่องเที่ยวที่สำคัญ ส่วนในกรุงเทพฯ จำนวนบริษัทที่อาจมีปัญหาสภาพคล่องเพิ่มขึ้น 20. 6% ซึ่งอาจส่งผลให้โอกาสที่บริษัทจะผิดนัดชำระหนี้เพิ่มขึ้นได้ ทั้งยังอาจก่อให้เกิดผลกระทบทางลบทวีคูณต่อเศรษฐกิจในพื้นที่จากการลดการจ้างงานและรายได้ที่ลดลง การระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้บริษัทในประเทศไทยต้องการเงินหมุนเวียนระยะสั้นสูงถึง 1. 7 ล้านล้านบาท หรือราว 10% ของจีดีพี (ประเมินจากจำนวนเงินที่มีไม่เพียงพอต่อการชำระหนี้ของบริษัททั่วประเทศภายใน 1 ปีข้างหน้า) โดยภาคค้าส่งและค้าปลีกจะต้องการเงินหมุนเวียนราว 4 แสนล้านบาท เพื่อชำระหนี้ในระยะสั้น หากไม่มีการปรับโครงสร้างหนี้และปรับโครงสร้างธุรกิจ ในขณะที่ธุรกิจโรงแรม ขนส่งทางอากาศ และร้านอาหารจะต้องการใช้เงินราว 3 – 5 หมื่นล้านบาทเพื่อความอยู่รอด โดยรวมแล้ว เกือบ 60% ของบริษัทที่ประสบปัญหาจะต้องใช้เงินมากกว่า 1 ล้านบาทต่อบริษัท เพื่อผ่านวิกฤตสภาพคล่องในครั้งนี้